Productivity Trap

Information from The State of Sarkhan Official Records
Picture that describes productivity trap

Productivity Trap: When Relaxation Feels Like Work

In today's fast-paced world, many individuals strive to be productive and efficient in all aspects of their lives. However, this constant pursuit of productivity can lead to a phenomenon known as the "Productivity Trap." This trap occurs when individuals find it challenging to relax and unwind because they feel guilty or anxious about not being productive. This analysis delves into the consequences of this mindset and explores ways to break free from the Productivity Trap.

The Allure of Constant Productivity:

In our society, there is a prevailing belief that being busy and productive is synonymous with success and fulfillment. This mindset can be further reinforced by social and cultural expectations, leading individuals to feel the need to be constantly engaged in tasks, work, or personal development. While there is value in productivity, it is crucial to strike a balance and recognize the importance of relaxation and leisure.

Negative Effects of the Productivity Trap:

1. Increased Stress and Burnout: The relentless pursuit of constant productivity can lead to chronic stress and burnout. When individuals are unable to disconnect from work or personal tasks, their overall well-being suffers. Physical and mental health issues such as anxiety, depression, and fatigue can arise as a result.

2. Diminished Creativity and Innovation: Rest and relaxation are essential for fostering creativity and innovation. By constantly pushing for productivity, individuals may hinder their ability to think creatively and come up with fresh ideas.

3. Strained Relationships: When individuals are consumed by work or productivity, their personal relationships may suffer. Lack of quality time with loved ones can lead to feelings of isolation and disconnection.

Breaking Free from the Productivity Trap:

1. Embrace Minimalism: Reduce the number of tasks and commitments in your life. Prioritize essential activities that align with your values and long-term goals.

2. Reflect on Purpose and Meaning: Take time to reflect on what truly matters to you. Focus on activities that bring you joy, fulfillment, and a sense of purpose.

3. Practice Mindfulness and Self-Care: Incorporate mindfulness techniques, such as meditation or deep breathing exercises, into your routine. Engage in self-care activities that promote relaxation and rejuvenation.

4. Set Realistic Expectations: Acknowledge that you cannot be productive all the time. Set realistic expectations for yourself and allow for periods of rest and leisure.

5. Cultivate Work-Life Balance: Establish boundaries between work and personal life. Allocate specific time for work and dedicated time for relaxation and leisure.

Conclusion:

While productivity is important, it should not come at the expense of our well-being and overall quality of life. The Productivity Trap can hinder our ability to relax and enjoy life's simple pleasures. By recognizing the negative consequences of this mindset and implementing strategies to break free from it, we can lead more balanced and fulfilling lives. Remember, true productivity encompasses more than just constant busyness; it also includes self-care, rest, and meaningful connections with others.

Original Article

เคยเป็นไหม? เวลาที่เราว่างเราจะรู้สึกผิด เราจะรู้สึกว่าทำไมเราไม่ทำอะไรที่มันมีคุณค่าเลย

เรามีลิสต์สิ่งที่ต้องทำล่วงหน้า และเราชอบรู้สึกผิดกับตัวเองถ้าเราไม่ได้ใช้ทุกวินาทีที่เราตื่นทำสิ่งเหล่านั้นให้เสร็จ เราพยายามจะจัดสรรเวลาให้ทุกเรื่อง ทั้งเรื่องเรียน เรื่องงาน แบ่งเวลาให้เพื่อน ให้ครอบครัว หรืออะไรก็ตามแต่ เรากำลังพยายามทำตัวมีประโยชน์ (Productive)  

แต่รู้ไหมว่าผลสุดท้าย เรานั่นแหละคือคนที่จะ Burn ตัวเอง เราจะหยุดไม่ได้ในวังวนการใช้ชีวิตแบบนี้ เราจะตกอยู่ในกับดักของการทำตัวมีประโยชน์ (Productive Trap) 

ทางออกง่ายๆ เลยก็แค่ “เลิกกังวลกับการต้องทำอะไรตลอดเวลา” ฟังดูง่ายอยู่ แต่ความจริงเราหยุดคิดไม่ได้อยู่ดีใช่ไหม งั้นลองดู 5 วิธีนี้ ที่จะช่วยให้เราหลุดพ้นจากกับดักนี้สักที  

1. ทำทุกอย่างให้น้อยลง 
Emma Seppala นักเขียน และนักวิจัยจาก Standford ได้พูดไว้ว่า สังคมของเราถูกครอบงำด้วยการทำงานหนัก แต่งานวิจัยต่างๆ ระบุว่าการพยายามเอาชนะ To-do list กลับส่งผลเสียต่อเรา 
การทำงาน หรือทำหลายอย่างมากไป มันเพิ่มความเสี่ยงของการเป็นโรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล ซึ่งโรคเหล่านี้แหละ คือตัวการที่จะทำให้ประสิทธิภาพในการทำสิ่งต่างๆ ของเราลดน้อยลง 

2. ทบทวนสิ่งที่ทำอยู่ ว่าทำไปเพราะความเคยชินหรือเปล่า 
เราควรจัดลำดับความสำคัญสิ่งที่ต้องทำ โดยการดูว่า อะไรตอบโจทย์เป้าหมายเราที่สุด อะไรเป็นจิ๊กซอว์ชิ้นสำคัญที่จะทำให้ภาพใหญ่ในอนาคตของเราสมบูรณ์ ถ้าอะไรที่มันเล็กๆ น้อยๆ แล้วมันกินเวลาชีวิตเราไปมาก ไม่ได้ส่งผลอะไรกับชีวิตเราเท่าไร ตัดออกไปบ้างก็ได้นะ 

3. หยุดเทียบตัวเองกับคนอื่น
แต่ละคนมีแนวทางการใช้ชีวิตไม่เหมือนกัน ไม่ใช่ว่าเราเห็น Tim Cook ตื่นนอนตอน ตี 3.45 มีเวลาทำหลายๆ อย่าง แล้วเราต้องทำตามซะหน่อย ไม่ใช่เห็นว่าคนอื่นอ่านหนังสือได้เดือนละ 1 เล่ม แปลว่าเราต้องทำแบบนั้นตามบ้าง มันอาจจะดีสำหรับคนเหล่านั้น แต่มันอาจจะไม่ได้ดีสำหรับเรา 

เราต่างเดินด้วยจังหวะที่ไม่เท่ากัน การพยายามทำตัว Productive โดยการยึดมาตรฐานคนอื่นแบบนั้น เราไม่สามารถทำมันได้นานหรอก สักพัก เราเองคือคนที่จะหมดแรงกับการไล่ตามคนอื่น
 
4. วางเรื่องต่างๆ ไว้บ้างก็ได้ 
เรามักจะโฟกัสแต่สิ่งที่เรายังทำไม่เสร็จมากกว่าสนใจว่าเราทำเสร็จไปแล้วกี่อย่าง ถึงแม้ว่ามันจะทำให้เราไม่ผลัดวันประกันพรุ่ง แต่มันทำให้เราเครียด 

ที่จริงเราไม่ต้องกดดันให้ตัวเองทำอะไรตลอดเวลาหรอก ลองวางเรื่องต่างๆ ลงไว้สักแป๊บนึง แล้วออกไปเดินเล่นสักพัก สูดอากาศสักหน่อย ทำให้สมองปลอดโปร่งดู ลองว่างดูบ้าง มันน่าจะทำให้เราสดชื่นขึ้น มีแรงมาทำสิ่งต่างๆ ได้อย่างมีคุณภาพมากขึ้น

5. กล้าที่จะพูดว่า “ไม่”
ไม่ได้หมายถึงต้องบอกคนอื่นหรอก บอกกับตัวเองนี่แหละ ว่า “ไม่ ไม่ต้องทำแล้ว พอแล้ว พักบ้าง”  

ช่วงเวลาที่ว่างก็เป็นช่วงเวลาที่สำคัญของชีวิตเหมือนกัน เราไม่จำเป็นต้องทำอะไรตลอดเวลา ว่างบ้างก็ได้  พักบ้างก็ได้ อยู่เฉยๆ บ้างก็ได้ วันไหนที่ไม่ได้ทำอะไรสักอย่าง มันไม่ได้แปลว่าเราขี้เกียจ ไม่ต้องรู้สึกไม่มีค่า หรือไม่ productive “เพราะช่วงเวลาที่ว่างก็เป็นช่วงเวลาที่สำคัญของชีวิตเหมือนกัน” เราไม่ใช่หุ่นยนต์หรือเครื่องจักรที่จะสามารถทำงานได้แบบไม่หยุดพัก เราเป็นมนุษย์ ร่างกายและจิตใจเรามีขีดจำกัด เมื่อถึงเวลา เราก็ควรที่จะได้พักอย่างเต็มที่โดยไม่ต้องรู้สึกผิดอะไร